เก็บดีมั้ย ค่าธรรมเนียม ?

Franchise fee
หรือค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์นั้น
แฟรนไชส์ซอร์บางเจ้าเก็บบางเจ้าไม่เรียกเก็บ
แล้วจะทำอย่างไรดี?
.
.
.
หากอยู่ในธุรกิจเดียวกัน
แฟรนไชส์ของเรามีการเรียกเก็บ
ส่วนแฟรนไชส์คู่แข่งกลับไม่เรียกเก็บ
แบบนี้ก็โกยลูกค้าเราไปเป็นกอบเป็นกำแน่
.
.
.
สิ่งที่อยากบอกคือ “ไม่ต้องกลัวครับ”
ถ้าชื่อเสียงของสินค้าหรือบริการของเราดีกว่า
แบรนด์โด่งดังกว่า
ระบบการทำงานของเราดีกว่า
ผลประกอบการที่ผ่านมาทั้งแฟรนไชส์ซอร์
และฝั่งแฟรนไชส์ซีดีกว่า
หรือกล่าวง่าย ๆ คือ คุณภาพดีกว่า
.
.
.
แต่ตัวเลขต่อไปนี้ต้องชัดนะครับ
ว่าแผนการใช้จ่ายจากเงินที่เราเก็บไป
นำไปใช้กับอะไรบ้าง
ซึ่งผมขอยกตัวอย่างดังนี้

นำไปเป็นค่า
1. ค่า PR ประชาสัมพันธ์ระยะสั้น,กลาง,ยาว
2. ค่าอบรมบุคลากรก่อนเปิดร้าน
3. ค่าติดตั้งระบบ
4. ค่าใช้จ่ายที่จะเกิดในตอนตรวจมาตรฐาน
5. อื่น ๆ ………………………….

แฟรนไชส์ซอร์ต้องทำให้แฟรนไชส์ซีเห็นว่า
เกิดความคุ้มค่าในการทำธุรกิจร่วมกัน
มีความเป็นเจ้าของในแบรนด์เดียวกัน

ปัญหาที่เจอมามากต่อมากคือ
แฟรนไชส์ซีไม่อยากจ่ายเงิน
เนื่องจากขาดการชี้แจงอย่างตรงไป ตรงมา
และเป็นเหตุ เป็นผล

ซึ่งหากขจัดข้อสงสัยนี้ได้
ก็นำมาซึ่งความพึงพอใจทั้งสองฝ่ายอย่างแน่นอน

ขอบคุณครับ

ธนบรรณ สัมมาชีพ

———————–

⭐กดติดดาวเพจ (See first) เพื่อรับคอนเทนต์
บทความ ข่าวสาร  แนวคิดดี ๆ ที่จะช่วยให้การทำ
ระบบแฟรนไชส์ของคุณมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง

#สอนทำแฟรนไชส์  #ทำรายได้100เท่าใน1ปี

ติดตามและอ่านทุกบทความจากผมที่
http://www.2bfranchisedd.com/

======

พื้นที่โฆษณา
ท่านที่สนใจเรียนการทำแฟรนไชส์
“พื้นฐานแน่น แฟรนไชส์ปัง!!!”

สามารถสมัครเรียนออนไลน์ได้ที่
https://goo.gl/2yWzbc
หรือ inbox มาเลย ผมรออยู่
ขอบคุณครับ




ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *